สื่อมัลติมมีเดีย

กลโกงมิจฉาชีพ

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ระบบบันทึก-ค้นหาข้อมูลอัตราดอกเบี้ยสูงสุดของสถาบันการเงินที่คิดให้ผู้ให้กู้ยืม (สำหรับเจ้าหน้าที่)

ข้อมูลสถิติ

Infographic

การชักชวนที่เป็นแชร์ลูกโซ่

ศูนย์รับแจ้งเหตุภัยทางการเงินจากมินฉาชีพของธนาคาร

ข่าวประชาสัมพันธ์

แถลงข่าว

ดูทั้งหมด
18 พฤษภาคม 2023
สถานการณ์การกระทำความผิดภายใต้ พ.ร.ก. การกู้ยืมเงินฯ (ต.ค. 2565 – มี.ค. 2566)
รายละเอียด
20 สิงหาคม 2021
เรื่อง การกระทำที่อาจเข้าข่ายเป็นความผิดตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน พ.ศ. 2527
รายละเอียด
30 ตุลาคม 2019
เรื่อง เตือนประชาชนระมัดระวังการลงทุนในแชร์ออนไลน์ที่มีลักษณะเป็นแชร์ลูกโซ่
รายละเอียด
3 พฤศจิกายน 2016
เรื่อง แชร์ออนไลน์เข้าข่ายความผิดตามพระราชบัญญัติการเล่นแชร์ พ.ศ. 2534 และประมวลกฎหมาย อาญาฐานฉ้อโกง
รายละเอียด
31 ตุลาคม 2016
เรื่อง เตือนภัยประชาชนเกี่ยวกับโครงการเงินให้กู้ยืมดอกเบี้ยต่ำที่อาจเป็นการแอบอ้างหรือหลอกลวง ประชาชน
รายละเอียด
11 สิงหาคม 2016
เรื่อง เตือนภัยประชาชนกรณีมีการชักชวนให้ประชาชนนาเงินมาร่วมลงทุนโดยมีการสัญญาว่าจะให้
รายละเอียด

สื่อวิดีโอให้ความรู้เกี่ยวกับแชร์ลูกโซ่

ดูทั้งหมด
[แชร์และแชร์ลูกโซ่] No.1 เรื่อง แชร์ ตลกตกงาน
[แชร์และแชร์ลูกโซ่] No.2 เรื่อง แชร์ลูกโซ่ นักข่าว
[แชร์และแชร์ลูกโซ่] No.3 เรื่อง แชร์ลูกโซ่
[แชร์และแชร์ลูกโซ่] No.4 เรื่อง ปูเป้
[แชร์และแชร์ลูกโซ่] No.5 เรื่อง กลเกมออนไลน์ & ค้าเงินตรา
[แชร์และแชร์ลูกโซ่] No.8 เรื่อง แชร์ลูกโซ่ คืออะไร (รู้ไว้ป้องกันภัย แชร์ลูกโซ่)
[แชร์และแชร์ลูกโซ่] No.9 เรื่อง ระวัง! แชร์ลูกโซ่

ลิ้งค์ที่เกี่ยวข้อง

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
08

คำถามที่พบบ่อย

  • ข้อ 1 : สถาบันการเงินประชาชนแตกต่างจากกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอย่างไร

    ตอบ : สถาบันการเงินประชาชนกับกองทุนหมู่บ้านฯ เป็นนิติบุคคลที่มีบทบาทแตกต่างกันในการเพิ่มการเข้าถึงทางการเงินให้แก่ประชาชนและแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ โดยสถาบันการเงินประชาชน
    จะทำหน้าที่เป็นเหมือนธนาคารของประชาชนในตำบลที่ให้บริการรับฝากเงินให้สินเชื่อรับชำระเงินรับโอนเงิน รวมถึงส่งเสริมหรือสนับสนุนการจัดสวัสดิการในพื้นที่ดำเนินงานโดยใช้เงินที่ได้จากการจัดสรรกำไร ซึ่งจะได้ธนาคารผู้ประสานงานเข้ามาช่วยสนับสนุนการดำเนินงานและพัฒนาระบบการให้บริการทางการเงิน ขณะที่กองทุนหมู่บ้านฯ ทำหน้าที่เป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนสำหรับการลงทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ หรือบรรเทาความเดือดร้อนสำหรับประชาชนในหมู่บ้านซึ่งสามารถให้กู้ยืมแก่สมาชิกและรับฝากเงินจากสมาชิก รวมถึงจัดหาทุนจากแหล่งเงินทุนอื่นเพื่อดำเนินการตามวัตถุประสงค์